รหัสพรรณไม้ 7-30340-002-017 |
|||||
![]() |
|||||
ชื่อพื้นเมือง | ทองอุไร,พวงอุไร,สร้อยทอง | ||||
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Tecoma stans ( L. ) Kunth | ||||
ชื่อวงศ์ | BIGNONIACEAE | ||||
ลักษณะวิสัย | ไม้พุ่ม | ||||
ลักษณะเด่นของพืช | ใบประกอบแบบขนนก เรียงตรงข้ามกัน ขอบใบจักฟันเลื่อย ดอกช่อสีเหลือง | ||||
บริเวณที่พบในโรงเรียน | หน้าอาคารขุนนิยม | ||||
คลิกขยาย
|
ลำต้น |
ใบ |
ดอก |
ผล |
อื่น ๆ |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
เลื่อนเมาส์อยู่เหนือภาพเพื่อดูภาพขยาย ชี้อีกครั้งเพื่อกลับสู่ภาพเดิม |
||||
รายละเอียดอื่น ๆ เพิ่มเติม |
ที่ปลายสุด จำนวน 7 - 11 ใบ สีเขียวอ่อน ขอบใบย่อยหยิกเป็นฟันเลื่อย ผิวสัมผัสละเอียด ลำต้นสีน้ำตาลนวลตลอด ทั้งต้น ก้านใบช่อดอกอ่อนเป็นสีเขียว
ออกดอกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ดอกดกมาก กลีบดอกติดกันเป็นรูปกรวยยาว 3 - 4 เซนติเมตร ปลายกลีบมี 5 กลีบ มีลักษณะกลมเป็นคลื่นเล็กน้อย กลีบเลี้ยงเป็นรูปกระดิ่งสีเหลือง แยก 5 แฉกกลีบดอกปลายแยก 5 กลีบรับกัน เกสรตัวผู้
ทองอุไรดอกสีเหลืองสดใส ปลูกง่าย เกิดง่าย ในเขตร้อนทั่วไป ขอเพียงให้มีเเดดเต็มที่มีน้ำเพียงพอ ทองอุไร จะให้ดอกพราวทั้งต้น สดสวยตลอดปี ไม่ควรปลูกในที่มีระดับน้ำใต้ดินสูง นิยมปลูกข้างถนน เกาะกลางถนน และเหมาะสำหรับปลูกมุมใดมุมหนึ่งของบ้านที่แดดถึง จะปลูกในกระถางไว้ที่ระเบียงบ้านก็ย่อมได้
|